บทที่ 7 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านการบริหาร
สรุปบทที่ 7 ระบบสารสนเทศสำหรับสนับสนุนการตัดสินใจด้านการบริหาร
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ระบบสารสนเทศสเพื่อการจัดการ เป็นประเภทพื้นฐานของระบบที่สนับสนุนการจัดการและยังเป็นหลักของระบบสารสนเทศอีกด้วย เป็นตัวสร้างข้อมูลที่สนับสนุนความต้องการในการตัดสินใจสำหรับงานการจัดการวันต่อวัน การสร้างรายงาน การแสดงและการตอบสนองโดยการเตรียมระบบข้อมูลสารสนเทศซึ่งผู้จัดการจะมีการกำหนดไว้ล่วงหน้า เช่น การผลิตข้อมูลที่เหมาะสะมสำหรับผู้ที่ต้องตัดสินใจในระดับของการปฏิบัติงานและยุทธวิธีขององค์กร ซึ่งเป็นผุ้ที่ต้องเผชิญหน้ากับประเภทของโครงสร้างในเหตุการณ์สำหรับการตัดสินใจอยู่เป็นประจำ
ทางเลือกสำหรับการจัดการรายงาน
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ได้ผลิตข้อมูลที่หลากหลายสำหรับการจัดการ ทางเลือกของรายงาน 4 ประเภทที่มีการเตรียมจากโปรแกรม
- รายงานตามตารางเวลาปกติ
- รายงานการยกเว้น
- รายงานความต้องการและการตอบสนอง
- รายงานสนับสนุน
การประมวลผลการวิเคราะห์ต่อตรงหรือออนไลน์
การแข่งขันและการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในสิ่งแวดล้อมของโลกธุรกิจ คือ แรงผลักของความต้องการและการวิเคราะห์สำหรับระบบสารสนเทศที่มีความต้องการที่ซับซือน ซึ่งอุสาหกรรมระบบสารสนเทศนั้นมีการตอบสนองในความต้องการเหล่านี้ โดยการพัฒนา เช่น การวิเคราะห์ฐานข้อมูล ตลาดข้อมูลหรือข้อมูลทางการตลาด โกดังข้อมูลหรือคลังข้อมูล เทคนิคการทำเหมือนข้อมูลหรือขุมข้อมูล และโครงสร้างฐานข้อมูลทางด้านมัลติมิเดีย ที่เกี่ยวกับแม่ข่ายและซอฟต์แวร์เฉพาะที่สนับสนุนการประมวลผลการตัดสินใจและระบบสารสนเทศเพื่อผู็บริหารที่ผู้จัดการสามารถใช้งานและวิเคราะห์สื่อสารระหว่างกันและการจัดการรายละเอียด ซึ่งจะมีการตอบสนองความต้องการได้อย่างรวดเร็ว
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ เกี่ยวข้องกับการติดต่อในขั้นตอนการทำงานของรูปแบบจำลองในการวิเคราะห์ เช่น การใช้ชุดซอฟต์แวร์ DSS สำหรับสนับสนุนการตัดสินใจอาจจะมีผลในลำดับของการแสดงที่มีการตอบสนองจากทางเลือกวอทอีฟ ที่มีการเปลี่ยนแปลงค่าตัวแผได้โดยผู้จัดการ
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจมีความเกี่ยวข้องกับปัจจัยพื้นฐาน 4 อย่างของแบบจำลองในการวิเคราะห์ ดูบทสรุปของแบบจำลองการวิเคราะห์สำหรับการสนับสนุนในการตัดสินใจ
การวิเคราะห์แบบวอทอิฟ
ในการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ผู้ใช้สามารถจะเปลี่ยนแปลงตัวแปรปหรือจำนวนความสัมพันธ์ของตัวแปรและความชัดเจนของผลลัพธ์ที่ได้จากค่าตัวแปรอื่นๆ เช่น ถ้าคุณใช้ตารางทำการ คุณจะต้องเปลี่ยนจำนวนของรายได้ (ตัวแปร) หรือสูตรคิดอันตราภาษี (จำนวนความสัมพัธ์ของตัวแปร) ในแบบจำลองด้านการเงินในตารางทำการ หลังจากนั้นคุณอาจสั่งให้โปรแกรมทำการคำนวนใหม่อีกครั้ง เพื่อแระเมินค่าบางตัวที่เปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะการกำหนดตัวแปร เช่น กำไรสุทธิหลังหักภาษี
การวิเคราะห์แบบละเอียด
การวิเคราะห์แบบละเอียดเป็นกรณีพิเศษของการวิเคราะห์แบวอทอิฟ ค่าของตัวแปรเพียงหนั่งตัวจะเกิดการเปลี่ยนแปลงและเปลี่ยนแปลงผลลัพธ์ในตัวแปรอื่นๆ ดังนั้นการวิเคราะห์แบบละเอียดจะเป็นกรณีของการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงซ้ำอีกครั้งในตัวแปรเพียงตัวเดียวในแต่ละครั้ง ชุดโปรแกรม DSS บางตัวจะมีการเปลี่ยนแปลงตัวแปรโดยอัตโนมัติ การวิเคราะห์แบบละเอียดจะใช้เมื่อผู้ตัดสินใจไม่แน่ใจเกี่ยวกับการประเมินค่าของตัวแปรหลัก
การวิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย
การวิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย เป็นสิ่งที่ตรงกันข้ามกับการวิเคราะห์แบบวอทอิฟ และแบบรายละเอียดจะเป็นการแทนที่ของสิ่งที่เห็นได้ชัดว่ามีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรที่มีผลกับตัวแปรอื่นอย่างไร การวิเคราะห์ในการค้นหาเป้าหมายเรียกว่า สามารถวิเคราะห์ได้อย่างไร ได้กำหนดค่าของเป้าหมาย (ความสำเร็จ) สำหรับตัวแปร หลังจากนั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอื่นๆจนกระทั่งค่าของเป้าหมายนั้นเข้าถึงเป้าหมาย
การวิเคราะห์แบบเหมาะสม
การวิเคราะห์แบบเหมาะสม เป็นการขยายความซับซ้อนที่มากขึ้นสำหรับการวิเคราะห์ค้นหาเป้าหมาย โดยแทนที่ค่าของเป้าหมายเฉพาะสำหรับตัวแปร เพื่อค้นหาค่าที่เหมาะสมสำหรับตัวแปรหนึ่งตัวแปรหรือมากกว่านั้น หลังจากนั้นตัวแปรอื่นจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทำให้มีข้อจำกัดเกิดขึ้น จนกว่าจะได้ค่าที่ดีที่สุดสำหรับตัวแปรเป้าหมายที่ต้องการ เช่น ควรกำหนดค่าระดับของผลกำไรไว้ในระดับสูงที่ควรจะเป็นเป้าหมายแห่งความสำเน็จ โดยวางค่าสำหรับการเลือกแหล่งของรายได้และประเภทของค่าใช้จ่าย การเปลี่ยนแปลงในตัวแปรอย่างมากอาจจะทำให้มีขีดจำกัดสำหรับขั้นตอนการผลิตหรือขีดจำกัดของการเงิน ดังนั้น เงื่อนไขที่เหมาะสมจึงเป็นสิ่งสำคัญ
ขอบเขตของปัญญาประดิษฐ์
1. ศาตร์แห่งการรับรู้
2 หุ่นยนต์
3. ลักษณะการทำงานที่เป็นธรรมชาติ
➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢
กรณีศึกษา
1. ทำไมการทำงานร่วมกันในระบบอินทราเน็ตจึงกลายเป็น ระบบสารสนเทศของทุกๆคน
ตอบ บริษัทใช้ระบบอินทราเน็ตและเครื่องมือค้นหาหรือเซิสร์เอนจิน เพื่ออธิบายระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบสนับสนุนในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร และทำงานร่วมกันภายในองค์กร
2. อะไรเป็นแนวคิดระบบสารสนเทศที่คุณได้จากระบบอินทราเน็ตของบริษัทและเครื่องมือค้นหาของ Fulcrum
ตอบ บริษัทโดยผ่าน Fulcrum ที่ใช้เป็นเครื่องมือค้นหาและเครื่องมือภายในกลุ่ม ผลที่ได้คือ สะพานแขวนขนาด 10 ช่องทางที่ออกแบบโดยบริษัท
3. อะไรเป็นผลประโยชน์ในทางธุรกิจสำหรับระบบอินทราเน็ตและเครื่องมือค้นหาภายในบริษัท
ตอบ เพื่อแบ่งปันประสบการณ์และความรุ้ของพวกเขาในการปรับปรุงบริษัทและโครงการทางวิศกรรมต่างๆ ซึ่งในการสนทนาผ่านระบบ PAN จะตั๋วหัวเรื่องการสนทนา
กรณีศึกษา
1. อะไรเป็นมูลค่าทางธูรกิจของการประมวลผลการวิเคราะห์ออนไลน์ของบริษัท Office Depot
ตอบ บริษัทสูญเสียพนักงานที่มีประสิทธิภาพมากกว่า 12 คนซึ่งเดคยเป็นผู้ช่วยเหลือในการสร้างรายงานของการขายสินค้าใน 600 ร้านทั่วโลก
2. บริษัท Office Depot ได้ผลจากการลงทุนสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศที่นำ OLAP ไปใช้งานอย่างไร
ตอบ โดยเป็นการใช้งานจากลูกค้าจำนวน 200 รายและผู้บริหารทางด้านการเงิน บริษัท Office Depot ได้จัดสร้างสิ่งที่ถูกต้องสมควร ซึ่งทำให้ขายสูงถึง 4 เปอร์เซนในช่วงปีหลัง โดยกลุ่มผู้คนที่เป็นผู้ค้าร่วมกับเครื่องมือในการวิเคราะห์งานตของตัวเอง
3. บริษัท Office Depot ควรที่จะมีการเตรียมให้ผู้จัดส่งสินค้าผ่านเอ็กซ์ทราเน็ตเพื่อเข้าถึงข้อมูงทางการตลาดหรือไม่ เพราะอะไร
ตอบ เตรียมผู้จัดตลาดสินค้าที่ทำงานร่วมกับการเข้าถึงข้อมูลทางการตลาดในระบบอินทราเน็ตที่ใช้ Wirfd ของการเชื่อมดยงใน OLAP บริษัทพร้อมจะแบ่งส่วนในการทำงานของการขายร่วมกับผู้จัดหาสินค้าหลักอีกสองแหล่งทั้งหมด
➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 7
1.อะไรคือความแตกต่างระหว่างความสามรถของผู้บริหารในการเรียกข้อมูลออกมาใช้ตามความต้องการของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และความสามารถจัดการเรื่องบริหารการตัดสินใจโดยใช้ระบบสนับสนุน
ตอบ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในขั้นตอนระบบสนับสนุนตัดสินใจที่ใช้คือ 1. รูปแบบจำลองในการวิเคราะห์ 2. ฐานข้อมูลเฉพาะ 3. ผู้ที่ตัดสินใจหรือผู้ที่ตัดสิน 4. การติดต่อระหว่างกัน
2.ระบบการขายมีความก้าวหน้ากว่าแต่ก่อนมาก เมื่อต้องการข้อมูลสำหรับการทำงานในองค์กร เนื่องจากความต้องการเรื่องกลยุทธ์ เทคนิค และการบริหารการตัดสินใจในธุรกิจเปลี่ยนไปให้นักศึกษาอธิบายเหตุการณ์เปลี่ยนแปลงนี้
ตอบ ปัจจุบันการดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันค่อนข้างสุง ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ผู้บริหารจะต้องอาศัยชั้นเชิงในการบริหารที่เหนือกว่าคู่แข่งหรืออาศัยความว่องไวในการปรับตัวให้ทันต่อภาวะแข่งขันในสภาพแวดล้อมที่เปลี่นแปลงอยูาตลอดเวลา
3. มีแนวทางไหนบ้าง ที่นักสึกษาใช้โปรแกรมคำนวนอิเล็กทรอนิส์ที่นำไปช่วยในการตัดสินใจ
ตอบ การทำงานร่วมกันของระบบอินทราเน็ตเป็นสิ่งที่เข้าถึงอย่างรวดเร็ว ที่ทำให้กล่าวได้ว่าสารสนเทศของทุกๆคน ซึ่งเป็นแหล่งข้อมูลสาสนเทศที่สำคัญ
4. ทำไมการใช้ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง จึงขยายไปยังระดับกลาง และขยายไปทั่วหมดทุกแผนกในองค์กร
ตอบ บริหารระดับสูง กำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์และวางแผนภายในองค์กรและรวมถึงทิศทางของเศษฐกิจ การเมือง และการแข่งขันทางธุรกิจ
บริหารระดับกลาง กำหนดตารางและนโยบายขั้นตอนการทำงานและเป้าหมายของธุรกิจสำหรับหน่วยย่อยภายในองค์กร จัดสรรข้อมูลและตรวจดูการทำงานของหน่วยย่อยภายในองค์กร ขั้นตอนการทำงานของทีมงาน ทีมงานโครงการและกลุ่มทพำงาน
5. ทำไมเครื่องคอมพิวเตอร์จึงสามารถคิดได้ อธิบาย
ตอบ คอมพิวเตอร์ คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อเนกประสงค์ที่สร้างขึ้นเพื่อให้มนุษย์สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือสำหรับเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานด้านต่างๆให้ได้ความต้องการของมนุษย์ เช่น ด้านการศึกษางานวิจัย เป็นต้น
6. การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ในองค์กร ส่วนไหนสำคัญที่สุด บอกเหตุผลที่นักศึกษาเลือก
ตอบ ความก้าวหน้าของคอมพิวเตอร์เจริญไปในทุกด้าน ทั้งทางฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ การที่มีพัฒนาการเจริญก้าวหน้า จึงทำให้นักคอมพิวเตอร์ตั้งความหวังที่จะทำให้คอมพิวเตอร์มีความฉลาดและสามารถตัดสินใจเพื่อช่วยทำงานของมนุษย์ได้มากขึ้น โดยเฉพาะวิทยาการปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งเชื่อว่าจะเป็นวิทยาการที่จะช่วยให้มนุษย์แก้ปัญหาต่างๆที่สำคัญ เช่น การให้คอมพิวเตอร์เข้าใจศาตร์มนุษย์รู้จัดใช้เหตุผลและการเรียนรู้ตลอดจนการสร้างหุ่นยนต์
7. การผสมผสานระหว่างระบบผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายเส้นประสาท จะก้าวหน้าต่อไปอย่างไม่หยุดยั้ง นักศึกษาคาดว่าจะเกิดเทคโนโลยีที่ล้ำสมัยอย่างไรบ้าง
ตอบ ระบบผู้เชี่ยวชาญและเครือข่ายเส้นประสาท ซึ่งสามารถร่วมกันทำงานภายในระบบที่มีการเตรียมการทำงานที่ดีที่สุดของเทคโนโลยี
8. อะไรคือขอบเขต หรืออัตรายที่นักศึกษามองเห็นในการใช้เทคโนโลยีปัญญษประดิษฐ์ เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ ความจริงเสมือน และตัวแทนสติปัญญา และอะไรที่ลดขนาดของผลกระทบเหล่านี้ได้
ตอบ เป็นการจำลองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ความจริงเสมือนจริงเป็นส่วนหนึ่งของการเติบโตอย่างรวดเร็วของปัญญาประดิษฐ์ที่พยายามสร้างเป้นธรรมชาติ ดูเสมือนจริงมีความรู้สึกเหมือนมนุษย์อาศัยอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและข้อมูลที่หลากหลายทางความรู้สึก เช่น หูฟังกับเครื่องวีดีทัศน์ ถุงมือส่งข้อมูลและชุดเสื้อกางเกงกับตัวตรวจจับไฟเบอรืออฟติด ที่ติดไว้ตามร่างกายของคุณเวลาที่คุณเคลื่อนไหว
➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢➢
คำถาม
1. แบ่งปันประสบการณ์และความรู้ของพวกเขาในการปรับปรุงงานบริษัทและดครงการทางวิศวกรรมต่างๆ มีการสนทนาผ่านระบบใด
ก. ระบบ ROI
ข. ระบบ PAN
ค. ระบบ EIS
ง. ระบบ MIS
2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการได้ผลิตข้อมูลที่หลากหลายสำหรับการจัดการทางเลือกของรายการมีกี่ประเภท
ก. 2 ประเภท
ข. 3 ประเภท
ค. 4 ประเภท
ง. 5 ประเภท
3.ส่วนของการปฏิบัติการหลักของปัญญษประัดิษฐ์ในการปฏิบัติการหลายอย่างของปัญญษประดิษฐ์ที่จัดได้กี่ส่วน
ก. 3 ส่วน
ข. 4 ส่วน
ค. 5 ส่วน
ง. 6 ส่วน
4. การตัดสินใจในระดับการปฏิบัติการจะมีแนวโน้มที่เป็นโครงส้างมากกว่าในระดับยุทธวิธีแบบใด
ก. ไม่มีโครงสร้าง
ข. แบบกึ่งโครงสร้าง
ค. แบบดโครงสร้าง
ง. แบบถูกทุกข้อ
5. OLAP สามารถเข้าไปในทิศทางตรงกันข้ามและแสดงรายละเอียดของข้อมูลอัตโนมัตเรียกว่าอะไร
ก. รายงานสนับสนุน
ข. รายงานยกเว้น
ค. การแบ่งส่วนและการสุ่ม
ง. การเจาะลึก
6. การบริหาร EIS ของบริษัท Conoco จะใช้ผู้จัดการอาวุโสและพนักงานในพื้นที่กี่คน
ก. 2,000 คน
ข. 3,000 คน
ค. 4,000 คน
ง. 5,000 คน
7.การขยายความซับซ้อนที่มากขึ้นสำหรับการวิเคราะห์ค้นหาเป้าหมายเฉพาะสำหรับตัวแปร ข้อความนี้ตรงกับข้อใด
ก. วิเคราะห์แบบเหมาะสม
ข. วิเคราะห์แบบค้นหาเป้าหมาย
ค. วิเคราะห์แบบวอทอิฟ
ง. วิเคราะห์แบบละเอียด
8. สิ่งที่ถูกต้องสมควรซึ่งทำให้การขายสูงขึ้นกี่เปอร์เซนในช่วงหลัง
ก. 3 เปอร์เซนต์
ข. 4 เปอร์เซนต์
ค. 5 เปอร์เซนต์
ง. 6 เปอร์เซนต์
9. การศึกษาทางร่างกายเกี่ยวกับอะไร
ก. ความรู้สึก
ข. ความคิด
ค. ความเข้าใจ
ง. ถูกทุกข้อ
10. ระบบงานที่ใช้ Fuzzy Logic พบมากในประเทศใด
ก. บราซิล
ข. สหรัฐอเมริกา
ค. อิตาลี
ง. ญี่ปุ่น
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น